สถาบันข้อมูลขนาดใหญ่ (องค์การมหาชน)

Logo BDI For web

Big Data

หากเราจะอธิบายการทำงานของระบบบางอย่างให้คนอื่นเข้าใจได้ง่าย ๆ คงหนีไม่พ้นการทำ diagram ที่สามารถแสดงให้เห็นถึงกระบวนการของระบบ ขั้นตอนการทำงาน หรือเห็นแต่ละกลุ่มที่มีหน้าที่ในระบบนั้น ๆ diagram ที่เราจะนำมาพูดถึงในวันนี้คือ sequence diagram และ activity diagram ทั้งสองเป็น diagram ที่มีวัตถุประสงค์ในการแสดงพฤติกรรมการทำงานของระบบ สามารถเห็นภาพรวมของระบบหรือกระบวนการของงานได้ง่ายขึ้น ตัวอย่างระบบการทำงานที่สามารถใช้

ในบทความแขกรับเชิญพิเศษนี้ ประภท สุนการะ (Prabhod Sunkara) ผู้ร่วมก่อตั้งและ COO ของบริษัท nRoad, Inc. ได้พูดถึงเรื่องของการที่องค์กรต่าง ๆ พึ่งพาข้อมูลที่ไม่มีโครงสร้างมากขึ้นเพื่อจุดประสงค์ในการวิเคราะห์ กำกับดูแล และทำการตัดสินใจในระดับองค์กร โดย nRoad เป็นแพลตฟอร์มที่สร้างมาเพื่อการประมวลผลภาษาธรรมชาติ (NLP) สำหรับข้อมูลที่ไม่มีโครงสร้างในส่วนการบริการทางด้านการเงินและเป็นบริษัทแรกที่ประกาศ

Remote Sensing หรือ การสำรวจระยะไกล เป็นกระบวนการในการตรวจจับและตรวจสอบลักษณะทางกายภาพของพื้นที่โดยการวัดรังสีที่สะท้อน และที่ปล่อยออกมาจากระยะไกล (โดยทั่วไปมาจากดาวเทียมเครื่องบิน หรือ Drone) กล้องที่มีคุณสมบัติพิเศษจะทำการถ่ายภาพจากระยะไกล ซึ่งช่วยให้เราทราบสิ่งต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นบนโลกได้ เพราะกล้องบนดาวเทียม สามารถถ่ายภาพพื้นที่บริเวณกว้าง ทำให้มองเห็นอะไรได้มากกว่าการยืนอยู่บนพื้น และนี่คือตัวอย่างของการนำข้อมูลภาพดาวเทียมไปใช้ในงานประยุกต์ต่าง ๆ เช่น กล้องที่มีคุณสมบัติพิเศษบนดาวเทียม

การทำให้ Data Visualization นั้น Accessible ช่วยให้ผู้รับสารทุกคนสามารถเข้าถึงสิ่งที่เราต้องการจะนำเสนอโดยไม่พลาดอะไรไปเพราะข้อจำกัดต่าง ๆ

ในปัจจุบันนี้การใช้งานข้อมูลในธุรกิจต่าง ๆ เป็นเรื่องที่จำเป็นอย่างมาก การนำเอาข้อมูลมาใช้ และ การประมวลผลข้อมูล จะช่วยให้เรามีการตัดสินใจในการดำเนินธุรกิจได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น และที่สำคัญคือ ถ้าธุรกิจไหนสามารถนำข้อมูลลูกค้า และที่ได้จากลูกค้า มาช่วยให้เข้าใจลูกค้ามากยิ่งขึ้น ตอบสนองความต้องการของลูกค้าได้ดีขึ้นแล้ว ธุรกิจนั้นจะมีพลังในการแข่งขันในตลาดสูงมากขึ้นอีกด้วย ปัญหาที่พบเจอปัญหาหนึ่งคือว่า เนื่องจากว่าข้อมูลที่เราได้มาในปัจจุบันเริ่มมีมาจากหลายช่องทาง และมีขนาดใหญ่ขึ้นเรื่อย ๆ จนที่เราไม่สามารถที่จะนำมาคำนวณใส่ Excel หรือเขียน

บทความ “การเข้ารหัสลับ (Encryption) เบื้องต้น สำหรับนักพัฒนา” นี้ใช้แหล่งข้อมูลส่วนใหญ่จาก e-book ชื่อ Practical Cryptography for Developers อวจ: ที่อยู่ในบทความนั้นย่อมาจาก เอาไว้จำ จุดประสงค์ของผู้เขียนมีไว้เพื่อสรุปความสำหรับผู้อ่านที่มีความเข้าใจอยู่บ้างแล้ว หรืออ่านหัวข้อนั้นแล้วให้สามารถจำนิยามของหัวข้อนั้นได้ สาร ในบทความนี้ไม่ใช่ สารเคมี

© Big Data Institute | Privacy Notice