สถาบันข้อมูลขนาดใหญ่ (องค์การมหาชน)

Logo BDI For web

Big Data

Computational Psychology คืออะไร คำว่า Computational Psychology ถึงแม้ว่าราชบัณฑิตจะบัญญัติภาษาไทยไว้ว่า จิตวิทยาคอมพิวเตอร์ [1] แต่ผู้เขียนคิดว่าความหมายที่สื่อความได้ดีกว่าน่าจะเป็น จิตวิทยาเชิงคำนวณ คือ การศึกษาจิตวิทยาด้วยกระบวนวิธีการคำนวณและวิเคราะห์จากข้อมูลจำนวนมากต่าง ๆ ที่ผ่านมา การศึกษาด้านจิตวิทยาจะใช้การเก็บข้อมูลจากแบบสอบถามหรือบันทึกจากการทดลอง แล้วนำสถิติมาใช้ในการแปลผลข้อมูลเหล่านั้น ด้วยความที่การแจกแบบสอบถามและการทดลองใช้เวลามาก ต้นทุนสูง ข้อมูลที่เก็บได้จึงมีจำนวนไม่มากนัก

ตั้งแต่การเรียนรู้เชิงลึก (Deep Learning) ถูกพัฒนาขึ้น ปัญญาประดิษฐ์ก็เข้ามามีบทบาทในชีวิตมนุษย์อย่างมาก ในหลายรูปแบบ ตั้งแต่ในแอปพลิเคชันบนสมาร์ตโฟน กล้องวงจรปิดที่ใช้ตามบ้าน แม้แต่โปรโมชันที่แบรนด์สินค้าเสนอให้กับเราในฐานะลูกค้าในหลายครั้งก็เป็นผลจากการใช้ปัญญาประดิษฐ์ เพื่อประมวลผลทางสถิติว่าโปรโมชันแบบไหนที่แต่ละคนจะตัดสินใจซื้อมากที่สุด ซึ่งในหลายครั้งมันก็ทำให้ลูกค้าจ่ายเงินซื้อสินค้าจากการแนะนำสินค้าได้ตรงใจ หรือแม้กระทั่งการแนะนำวิดีโอในแอปพลิเคชัน TikTok หรือ YouTube เพื่อดึงดูดความสนใจของผู้ใช้ให้รับชมคอนเทนท์ที่ชื่นชอบในระยะเวลาที่ยาวนานที่สุด โดยใช้เทคนิคต่าง ๆ อาทิเช่น Computer

โครงการ AI ของ ASU AI วิเคราะห์ข้อมูลขนาดใหญ่ เพื่อช่วยให้นักวิเคราะห์ค้นพบวิธีการแก้ปัญหาโลกร้อนที่อาร์กติก ( AI แก้ปัญหาโลกร้อน ) อาร์กติกกำลังเผชิญวิกฤตทางภูมิอากาศจากการคุกคามของผู้คนในบริเวณนั้นและบริเวณอื่น ๆ ทั่วโลก แม้ว่าเราจะมีวิธีแก้วิกฤตนี้โดยใช้วิธีแก้ปัญหาที่ใช้กันทั่วโลกก็ตาม แต่วิธีเหล่านั้นก็เหมือนจะไม่สามารถทำได้ เป็นเวลาหลายปีมาแล้วที่ดาวเทียมและโดรนได้เก็บข้อมูลทางวิทยาศาสตร์จำนวนมากมายจากพื้นที่อาร์กติกที่ห่างไกลและไม่ได้รับการสำรวจ แต่ปัญหาคือการเก็บข้อมูลเหล่านี้มาเป็นเวลาหลายปีทำให้เรามีข้อมูลมากเกินไป และแทบจะเป็นไปไม่ได้ที่จะตีความข้อมูลเหล่านั้นออกมาได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งหนึ่งในอาจารย์ของมหาวิทยาลัยแอริโซนาสเตต

หลายคนคงไม่เคยทราบว่าการวิจัยวิทยาศาสตร์ชีวการแพทย์ (Biomedical Science) นั้นเป็นหนึ่งในงานที่สร้างข้อมูลปริมาณมหาศาลมาพักใหญ่ ๆ แล้ว จุดเริ่มต้นของการใช้งานข้อมูลขนาดใหญ่ หรือ “Big Data” ในงานชีวการแพทย์ก็คือการตั้งฐานข้อมูลเก็บลำดับเบสของสิ่งมีชีวิตชนิดต่าง ๆ ในช่วงทศวรรษ 1980 ทั้งลำดับเบสดีเอ็นเอ (GenBank) และลำดับโปรตีน (SwissProt/UniProt) โดยตั้งแต่ปี 1982

© Big Data Institute | Privacy Notice