สถาบันข้อมูลขนาดใหญ่ (องค์การมหาชน)

Logo BDI For web

Big Data

ใกล้จะเริ่มต้นปี 2023 กันแล้ว ถ้าเราลองมองไปที่เทคโนโลยีเกี่ยวกับ AI ในปีที่ผ่านมา เราจะเห็นว่า AI เดินทางไปกับพวกเราเรื่อย ๆ ในหลายอุตสาหกรรมเลย ซึ่งบทความก่อนหน้านี้เราได้มีการเล่าถึง AI ในอุตสาหกรรมสายการบินในปีที่ผ่านมาไปบ้างแล้ว ในหัวข้อที่ว่า 10 หนทางที่สายการบินนำ AI และวิทยาศาสตร์ข้อมูลมาใช้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการทำงาน  หากใครสนใจลองตามไปอ่านกันได้เลย

ทุก ๆ ปีสรรพากรทั่วโลกจะต้องสูญเสียรายได้หลายสิบล้านเหรียญจากการโกงและหลีกเลี่ยงภาษี จากข้อมูลสถิติพบว่า 145 ประเทศทั่วโลกซึ่งมีขนาดเศรษฐกิจรวมกันประมาณ 95% ของ GDP โลก[1] มีการสูญเสียรายได้ทางภาษีรวมกันปีละ 2.4 ล้านล้านยูโร หรือประมาณ 91.4 ล้านล้านบาท นับเป็นมูลค่าที่มหาศาลมาก ดังนั้นจึงไม่เป็นที่น่าแปลกใจที่สรรพากรหรือหน่วยงานที่มีหน้าที่จัดเก็บภาษีของแต่ละประเทศ[2] หันมาใช้ประโยชน์จาก Big

10 อันดับเทรนด์เทคโนโลยีมาแรง คาดการณ์โดย Alibaba DAMO Academy ยักษ์ใหญ่ด้านเทคโนโลยีของจีนที่จะเข้ามาเปลี่ยนชีวิตมนุษย์ภายใน 5 ปี หลังจากนี้

ข้อมูลทางอุตุนิยมวิทยามีผลต่อการวางแผนในการดำเนินกิจกรรมต่าง ๆ มากมาย บทความนี้จะยกตัวอย่างการประยุกต์ใช้ข้อมูลทางอุตุนิยมวิทยาสำหรับการวางแผนการเพาะปลูกข้าวนาน้ำฝน การวางแผนสำหรับการท่องเที่ยว รวมทั้งการเฝ้าระวังในการเดินเรืออีกด้วย กรมอุตุนิยมวิทยา ร่วมกับ GBDi ในการนำข้อมูล Big Data ทางอุตุนิยมวิทยาของกรมอุตุฯ มาประยุกต์ใช้ เพื่อนำเสนอข้อมูลการพยากรณ์อากาศให้เกิดประโยชน์ต่อภาคส่วนต่าง ๆ โดยในระยะเริ่มต้น GBDi ให้การสนับสนุนกรมอุตุฯในด้านการทำ Data

วัคซีน…คือทางออก เมื่อเกิดสถานการณ์การระบาดครั้งยิ่งใหญ่ของโรค โควิด-19 ไปทั่วประเทศไทย มาตรการใช้อาวุธ และสร้างเกราะป้องกัน คือ เว้นระยะห่าง สวมใส่แมสก์ ล้างมือด้วยแอลกอฮอล์ ตลอดเวลากว่าหนึ่งปี ก็ยังคงไม่เพียงพอต่อการจะเอาชนะสงครามไวรัสนี้ได้ วัคซีน …คือทางออกที่สำคัญยิ่ง และต้องเร่งฉีดให้กับประชาชนเป็นจำนวนมาก เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันให้กับคนไทยทั้งประเทศ ศูนย์ฉีดวัคซีนกลางบางซื่อ เป็นจุดเริ่มต้นที่เป็น “ศูนย์กลาง” ของ

เมื่อพูดถึงเซลล์ประสาท หลายคนอาจนึกถึง Neural Network ที่เป็นจุดเปลี่ยนของเทคโนโลยี AI ในปัจจุบัน แต่บทความนี้ ผมอยากพูดถึงเซลล์ประสาทจริง ๆ ที่อยู่ในสมอง เมื่อเซลล์ประสาทหลาย ๆ เซลล์ส่งผ่านข้อมูลระหว่างกันก็จะเกิดสนามไฟฟ้าขึ้นในสมอง และถ้ากิจกรรมในสมองนั้นมีมากพอ สนามไฟฟ้านี้ก็จะเข้มมากพอที่จะพอส่งผ่านกะโหลกศีรษะเข้ามาเป็นสัญญาณทางไฟฟ้าแบบอ่อน ๆ ที่บริเวณศีรษะของเราครับ ซึ่งสัญญาณนี้ถูกค้นพบครั้งแรกตั้งแต่ปี 1929

© Big Data Institute | Privacy Notice